ท่องเที่ยวในจังหวัดฯ

แนะนำสถานที่ท่องเที่ยวจังหวัดสมุทรสาคร การคมนาคม อำเภอเมืองและเขตเทศบาลนครสมุทรสาคร – ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง เสาหลักเมือง ป้อมวิเชียรโชติ – วัดเจษฎาราม – วงเวียนน้ำพุ – ตลาดทะเลไทย – วัดสุทธิวาตวราราม (วัดช่องลม) – วัดโกรกกราก – วัดโคกขาม – ศาลพันท้ายนรสิงห์ – วัดใหญ่จอมปราสาท – วัดป่าชัยรังสี – วัดบางปลา – แหล่งดูนกโคกขาม – พื้นที่ศึกษาธรรมชาติอ่าวไทย   อำเภอกระทุ่มแบนและอำเภอบ้านแพ้ว – วัดนางสาว – ปล่องเหลี่ยม – สวนผลไม้ – วัดหลักสี่ราษฎร์สโมสร   วัฒนธรรม เทศกาล ประเพณี และของดี ของที่ระลึก – เทศกาลอาหารทะเล งานมหาชัยซีฟูดส์ งานประเพณีแห่ศาลเจ้าพ่อหลักเมือง – งานมนัสการพระมหาโพธิสัตว์กวนอิม งานเทศกาลกินเจท่าฉลอม […]

กฎหมายน่ารู้

กฎหมายน่ารู้ พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย พระราชบัญญัติการเดินเรือในน่านน้ำไทย (ฉบับที่ 16) พ.ศ.2550 พระราชบัญญัติเรือไทย ระเบียบพัสดุ กฎกระทรวงฉบับที่ 63 (หลักเกณฑ์และวิธีการในการอนุญาตให้ปลูกสร้างสิ่งล่วงล้ำลำน้ำ) กฎกระทรวงฉบับที่ 64 (การเก็บค่าตอบแทน) คำสั่งกรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชยนาวี ที่ 186/2548 เรื่องแนวทางการพิจารณาสิ่งล่วงล้ำลำน้ำ ยุบเรือเป็นเศษเหล็ก ประกาศของคณะปฏิวัติ ฉบับที่ 68 (ควบคุมเรือ แพ ในแม่น้ำลำคลอง) กฎข้อบังคับสำหรับการตรวจเรือ ฉบับที่ 15 กฎข้อบังคับสำหรับการตรวจเรือ ฉบับที่ 19 ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการอนุญาตให้ดูดทราย พ.ศ.2546 ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยการเปลี่ยนสภาพที่ดินอันเป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินฯ พ.ศ. 2543 ระเบียบกระทรวงมหาดไทย ว่าด้วยวิธีการเกี่ยวกับการขุดลอกแหล่งน้ำสาธารณประโยชน์ที่ตื้นเขิน พ.ศ. 2547 ระเบียบกรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชยนาวี ว่าด้วยการรายงานการเข้ามาหรือออกไปของเรือในเมืองท่าฯ ประกาศกรมเจ้าท่าที่ 279/2542 เรื่องการอนุญาตให้ขนถ่ายสิ่งของที่อาจทำให้เกิดอันตรายได้ ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกจ่ายเงินตอบแทนการปฎิบัติงานนอกเวลาราชการ พ.ศ. 2550 ระเบียบกระทรวงการคลัง ว่าด้วยการเบิกค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการ พ.ศ. 2550 […]

คู่มือการติดต่อราชการ

คู่มือติดต่อราชการ   การจดทะเบียนเรือ ต่อใบอนุญาต ทำนิติกรรม การขอใบอนุญาตใช้เรือ การขอใบสำคัญรับรองการตรวจเรือ และใบสำคัญรับรองอื่นๆ การจดทะเบียนเรือไทย และการเปลี่ยนชื่อ การขอหนังสือคนประจำเรือ ต่ออายุ ทำนิติกรรม การขอหนังสือคนประจำเรือ (Seaman Book) การต่ออายุ Seaman Book การขอใบแทน Seaman Book การทำหนังสือสัญญาและบัญชีคนประจำเรือ (คร.4) การขอประทับตรา ใบ Seaman Book ของผู้มีประกาศนียบัตร การสมัครสอบและต่ออายุหรือเลื่อนชั้นประกาศนียบัตร การสอบความรู้ผู้ทำการในเรือ พ.ศ.2532 การฝึกอบรม การสอบความรู้ผู้ทำการในเรือ พ.ศ.2541 การขอต่ออายุหรือเลื่อนชั้น การขออนุญาตขุดลอกร่องน้ำ ดูดทราย การขออนุญาต ดูดทรายเพื่อการจำหน่าย การขออนุญาต ขุดลอกหน้าท่าเทียบเรือ การขออนุญาต ขุดลอกเพื่อการเดินเรือ การขออนุญาตปล่อยน้ำเสียลงแหล่งน้ำ การขออนุญาตปล่อยน้ำเสีย การขออนุญาตทำสิ่งล่วงล้ำลำน้ำ ประเภทสิ่งล่วงล้ำลำน้ำที่พึ่งอนุญาตได้ หลักเกณฑ์ในการพิจารณาอนุญาตของกรม คำแนะนำในการขออนุญาตและขั้นตอนการดำเนินการ ผังขั้นตอนการพิจารณาการขออนุญาตสร้างสิ่งล่วงล้ำลำน้ำ ผังขั้นตอนการพิจารณาการขออนุญาตต่ออายุใช้ท่าเทียบเรือ แนวทางการตรวจสภาพท่าและโป๊ะเทียบเรือ การขออนุญาตใช้แพโดยสาร การควบคุมแพ […]

คู่มือการเบิกจ่าย

คู่มือปฏิบัติเกี่ยวกับการเบิกจ่าย หมวดที่ 1 สวัสดิการ ประเภทที่ 1 การรักษาพยาบาล ประเภทที่ 2 การศึกษาของบุตร ประเภทที่ 3 การช่วยเหลือบุตร หมวดที่ 2 ค่าตอบแทน ประเภทที่ 1 ค่าเช่าบ้านข้าราชการ ประเภทที่ 2 การปฏิบัติงานนอกเวลาราชการ ประเภทที่ 3 ค่าเบี้ยประชุม ประเภทที่ 4 เงินรางวัลเกี่ยวกับการสอบ ประเภทที่ 5 เงินสมนาคุณกรรมการสอบสวนทางวินัยข้าราชการ ลูกจ้างประจำ ประเภทที่ 6 กรรมการตรวจการจ้างและผู้ควบคุมงาน ประเภทที่ 7 กรรมการผู้อ่าน ตรวจ และประเมินผลงานทางวิชาการ ประเภทที่ 8 ค่าบทความ หมวดที่ 3 ค่าใช้สอย ประเภทที่ 1 ค่าใช้จ่ายในการเดินทางไปราชการชั่วคราวในราชอาณาจักร ประเภทที่ 2 การเดินทางไปราชการต่างประเทศชั่วคราว ประเภทที่ 3 ค่าใช้จ่ายในการนำสื่อมวลชนไปทำข่าว […]

ประวัติกรมเจ้าท่า

ประวัติกรมการขนส่งทางน้ำและพาณิชยนาวี (กรมเจ้าท่าเดิม)              ประเทศไทยติดต่อค้าขายกับต่างชาติมาแต่ครั้งกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี   สมัยนั้นมิได้เรียก “กรมเจ้าท่า”    อย่างเช่นปัจจุบัน  เรียก เจ้าภาษีบ้าง   นายด่านบ้างและนายขนอมตลาดบ้าง    ซึ่งทั้งหมดทำหน้าที่บังคับการจอดสมอเรือค้าขาย เก็บค่าธรรมเนียมเรือค้าขายที่เข้าและออกราชอาณาจักร   โดยอยู่ในความปกครอง บังคับบัญชาของกรมพระคลังส่วนคำว่า “กรมท่า”   แต่เดิมคงหมายถึง   เจ้าท่าตามระบบเก่า   หากแต่มีความหมายกว้างขวางออกไปอีก   กรมท่าเป็นส่วนราชการที่มีแต่สมัยกรุงศรีอยุธยา           เจ้าท่าในสมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ประเทศไทยมีการติดต่อค้าขายทางเรือกับต่างชาติ   เป็นชาวตะวันออกก่อน เช่น จีน และแขก ชาวตะวันตก มีโปรตุเกสเป็นชาติแรก ต่อมามีสเปน ฮอลันดา ญี่ปุ่น อังกฤษ เดนมาร์ก และฝรั่งเศสเข้ามาติดต่อค้าขายตามลำดับการค้าขายกับต่างชาติอยู่ในความควบคุมดูแลของกรมพระคลังสินค้า ซึ่งสันนิษฐานว่าตั้งขึ้นในสมัยพระเจ้าประสาททอง   เป็นหน่วยงานหลวงเพื่อผูกขาดสินค้าบางอย่างเป็นสินค้าต้องห้าม ไม่ให้พ่อค้าประชาชนซื้อขายโดยตรง   นอกจากผูกขาดซื้อขายสินค้าแล้ว   พระคลังสินค้ายังมีหน้าที่เรียกเก็บค่าธรรมเนียมเรือสินค้าต่างชาติ    ค่าภาษีสินค้าและค่าธรรมเนียมเข้าออก                    คำ “เจ้าท่า” ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช ตามประวัติศาสตร์ คำว่า “เจ้าท่า”   มีมาตั้งแต่รัชสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราช   ในรัชกาลพระองค์ การค้าขายทางเรือกับต่างชาติปรากฏว่า รุ่งเรืองยิ่งกว่าสมัยใด ๆ ในยุคนั้น   คำว่า “เจ้าท่า”   สันนิษฐานว่ามาจากภาษาเปอร์เซีย   ซึ่งเรียกว่าเจ้าท่าว่า “Shah Bardar”  […]

พระประวัติกรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์

http://md3skn.org/wp-content/uploads/2018/09/2018-09-06_10-15-28.png   พระประวัติ พลเรือเอกพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ จากเว็บไซท์ของกองทัพเรือ พระประสูติกาล พระองค์เจ้าอาภากร เกียรติวงศ์      พลเรือเอก พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมหลวงชุมพร เขตรอุดมศักดิ์ (ต้นราชสกุล อาภากร) ทรงเป็น พระเจ้าลูกยาเธอ ในพระบาทสมเด็จ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาล ที่ ๕ นับลำดับ ราชสกุลวงศ์เป็นพระองค์ที่ ๒๘ มีพระนามเดิมว่า “พระองค์เจ้าอาภากรเกียรติวงศ์” ประสูติใน พระบรมมหาราชวัง เมื่อวันที่ ๑๙ ธันวาคม พ.ศ. ๒๔๒๓ ตรงกับวันอาทิตย์ แรม ๓ ค่ำ เดือนอ้าย ปีมะโรง จุลศักราช ๑๒๔๒ เวลา ๑๔.๕๗ และทรงเป็น พระเจ้าลูกยาเธอ พระองค์ที่ ๑ ในเจ้าจอมมารดาโหมด ธิดาเจ้าพระยาสุยาสุรวงศ์ ไวยวัฒน์ (วร บุนนาค) พระองค์ทรงมีพระกนิษฐา และพระอนุชา […]